หน่วยงานภายใน
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3
รับผิดชอบ :: ฝายอำนาจเจริญ (ปะอาว) ลักษณะโครงการ : ฝาย คสล.มีบานระบายชนิดบาน Radial gate กว้าง 12.50 เมตร สูง 5.50 เมตร จำนวน 5 บาน ระดับเก็บกัก : +113.00 เมตร พื้นที่ชลประทาน : ปัจจุบันฝายอำนาจเจริญ ให้ความช่วยเหลือสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าขนาดเล็กทั้งด้าน หน้าฝายและท้ายฝาย จำนวน 12 สถานี รวมพื้นที่ชลประทาน : 14,390 ไร่ ระบบกระจายน้ำ :: กระจายน้ำด้วยระบบสูบน้ำจากแม่น้ำเข้าคลองส่งน้ำ หน้าที่ความรับผิดชอบ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3 มีหน้าที่ในการควบคุมการส่งน้ำและบำรุงรักษาระบบชลประทานขนาดกลาง โครงการชลประทานขนาดเล็ก โครงการพิเศษ โครงการตามพระราชดำริ ที่อยู่ในเขตความรับผิดชอบ รวมทั้งงานพัฒนาแหล่งน้ำต่างๆ ที่อยู่นอกเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา ประสานงานกับอำเภอและเกษตรกรในการพิจารณา แก้ปัญหา ในส่วนที่เกี่ยวกับงานด้านส่งน้ำให้แก่พื้นที่เพาะปลูก ดำเนินการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำ และฝึกอบรมเกษตรกร ให้มีความรู้เรื่องการใช้น้ำอย่างถูกวิธี และดำเนินการก่อสร้างงานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก งานตามแผนพัฒนาชนบทและงานอื่นๆ พิจารณาซ่อมแซมบำรุงรักษาระบบส่งน้ำ ระบบระบายน้ำ ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย |
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2
ที่ตั้งโครงการ :: หมู่ 4 บ้านคำไฮ ตำบลธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
หน้าที่ความรับผิดชอบ |
งานบริหารทั่วไป
|
1. งานธุรการ |
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1
ที่ตั้งหัวงาน :: ฝายยโสธร - พนมไพร ตำบลเขื่องคำ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร ลักษณะโครงการ :: ฝาย คสล.มีบานระบายชนิดบาน Radial gate กว้าง 12.50 เมตร สูง 7.75 เมตร จำนวน 8 บาน ระดับ เก็บกัก +126.00 เมตร รับผิดชอบ :: ฝายยโสธร - พนมไพร สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า P.1, P.5 และ P.6/1 |
ฝ่ายจัดสรรน้ำ
มีหน้าที่รับผิดชอบงานด้านการบริหารจัดการน้ำในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพัฒนาล่มน้ำชีตอนล่างและเซบายตอนล่าง ได้แก่ การจัดทำแผนจัดสรรน้ำและแผนการเพาะปลูกพืช ประจำช่วงฤดู ของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา ประกอบด้วยสภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ รวมทั้งแผนการบริหารจัดการน้ำให้กับทุกกิจกรรมการใช้น้ำ การให้ความช่วยเหลือในระยะก่อน - ระหว่าง - หลังเกิด สภาวะวิกฤติ พร้อมทั้งแผนการเพาะปลูกพืชในเขตชลประทาน ของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา โดยแบ่งออกเป็น 3 สายงาน ดังนี้ |